ระบบเกษตรพันธสัญญาในประเทศไทย (Contract Farming)
เกษตรพันธสัญญาคืออะไร เกษตรพันธสัญญา หรือ คอนแทรคฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) คือ ระบบการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ หรือการเพาะปลูกพืช ที่มีการทำสัญญาหรือข้อตกลงก่อนการผลิตระหว่างเกษตกรกับผู้ซื้อ ซึ่งกำหนดเงื่อนไขสำหรับการผลิตและการตลาดของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เงื่อนไขเหล่านี้มักจะระบุราคารับซื้อผลผลิตจากเกษตรที่ตกลงกันตั้งแต่ต้น ที่เรียกว่า “ราคาประกัน” […]
ระบบเกษตรพันธสัญญาในประเทศไทย (Contract Farming)
เกษตรพันธสัญญาคืออะไร เกษตรพันธสัญญา หรือ คอนแทรคฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) คือ ระบบการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ หรือการเพาะปลูกพืช ที่มีการทำสัญญาหรือข้อตกลงก่อนการผลิตระหว่างเกษตกรกับผู้ซื้อ ซึ่งกำหนดเงื่อนไขสำหรับการผลิตและการตลาดของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เงื่อนไขเหล่านี้มักจะระบุราคารับซื้อผลผลิตจากเกษตรที่ตกลงกันตั้งแต่ต้น ที่เรียกว่า “ราคาประกัน” […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#6 ฝ้ายดัดแปลงพันธุกรรม
ฝ้ายดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Cotton หรือ GM cotton) ได้รับการออกแบบทางวิศวกรรมในสองลักษณะ ชนิดหนึ่งทำให้มันทนทานต่อสารเคมีกำจัดวัชพืชที่ใช้ไกลโฟเสตเช่น Monsanto’s Roundup ในขณะที่อีกชนิดหนึ่งกระตุ้นให้พืชสร้างสารพิษที่ฆ่าหนอนเจาะรูซึ่งเป็นหนึ่งในศัตรูพืชหลักของพืช ฝ้ายที่ทนต่อศัตรูพืชนี้ (pest-resistant cotton) […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#5 ถั่วเหลืองดัดแปลงพันธุกรรม
สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมเกิดขึ้นโดยใช้วิธีการทางเทคโนโลยีขั้นสูงในการแทรกยีนหนึ่งหรือหลายยีนจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งชนิด (พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์) ไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น (ในกรณีนี้ถั่วเหลือง) ในพืชดัดแปลงพันธุกรรมหรือพืชจีเอ็ม (Genetically modified crops; GM crops) ยีนที่แทรกมักจะเป็นยีนที่ต้านทานสารกำจัดวัชพืชหรือต้านทานศัตรูพืช ดังนั้นจากการโฆษณาทางการตลาดระบุว่าเกษตรกรสามารถใช้สารกำจัดวัชพืชหรือยาฆ่าแมลงน้อยลง เป็นการประหยัดต้นทุนและลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#4 ข้าวสีทอง ตอนที่ 3 ข้าวสีทองดีเบต
ข้าวสีทอง (Golden Rice) เป็นพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่อุดมด้วยเบต้าแคโรทีนซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการขาดวิตามินเอ (Vitamin A Deficiency; VAD) ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่ยากจนมาก ข้าวสีทองเกิดจากความคิดที่ว่าเทคโนโลยีชีวภาพสามารถแก้ปัญหาการขาดสารอาหาร ความอดอยาก และความยากจนในประเทศกำลังพัฒนา Golden Rice มีชื่อตามสีทองซึ่งเกิดจากเบต้าแคโรทีน […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#3 ข้าวสีทอง ตอนที่ 2 การพัฒนาและประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ “Golden Rice”
การเสริมวิตามินเอ เบต้าแคโรทีน (β-carotene) จัดเป็นกลุ่มรงควัตถุ (pigment) ที่มีสีส้ม สีเหลือง เป็นสารในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอ สารนี้เมื่อเข้าสู่รางกายจะได้รับการเปลี่ยนเป็นวิตามินเอจึงจะออกฤทธิ์ได้ เบต้าแคโรทีนเป็นแหล่งวิตามินเอที่มีประสิทธิภาพทั้งในอาหารทั่วไปและอาหารเสริมวิตามิน โดยทั่วไปถือว่าไม่มีพิษและไม่มีรายงานผลข้างเคียงที่เกิดจากการบริโภคเบต้าแคโรทีนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในอาหาร การขาดวิตามินเอ (Vitamin […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#2 ข้าวสีทอง ตอนที่ 1 การสร้างข้าวดัดแปลงพันธุกรรม “Golden Rice”
GMOs คืออะไร? สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ (Genetically Modified Organism, GMOs) คือสิ่งมีชีวิตใดๆ ที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมจากการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ที่เกิดจากการตัดเอายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งเข้าไปในยีนของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติ ทำให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีคุณลักษณะที่เป็นประโยชน์ตามที่ต้องการ จีเอ็มโอถูกนำมาใช้ในการวิจัยและเพื่อผลิตพืชอาหารที่มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืช ต้านทานต่อโรคพืช ต้านทานต่อสารเคมีกำจัดวัชพืช […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#1 จีเอ็มโอ, วิธีสร้างพืชจีเอ็ม, พื้นที่ปลูกพืชจีเอ็มทั่วโลก, พืชจีเอ็มกับประเทศไทย
ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครโมโซม DNA และยีน (kintalk.org) โครโมโซม (Chromosome) – ตัวโครโมโซมสามารถย้อมสีติด มันอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ เป็นที่อยู่ของ “สารพันธุกรรมหรือ DNA” รวมถึง “หน่วยพันธุกรรมหรือยีน” (ซึ่งยีนอยู่ใน […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#6 ฝ้ายดัดแปลงพันธุกรรม
ฝ้ายดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Cotton หรือ GM cotton) ได้รับการออกแบบทางวิศวกรรมในสองลักษณะ ชนิดหนึ่งทำให้มันทนทานต่อสารเคมีกำจัดวัชพืชที่ใช้ไกลโฟเสตเช่น Monsanto’s Roundup ในขณะที่อีกชนิดหนึ่งกระตุ้นให้พืชสร้างสารพิษที่ฆ่าหนอนเจาะรูซึ่งเป็นหนึ่งในศัตรูพืชหลักของพืช ฝ้ายที่ทนต่อศัตรูพืชนี้ (pest-resistant cotton) […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#5 ถั่วเหลืองดัดแปลงพันธุกรรม
สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมเกิดขึ้นโดยใช้วิธีการทางเทคโนโลยีขั้นสูงในการแทรกยีนหนึ่งหรือหลายยีนจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งชนิด (พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์) ไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น (ในกรณีนี้ถั่วเหลือง) ในพืชดัดแปลงพันธุกรรมหรือพืชจีเอ็ม (Genetically modified crops; GM crops) ยีนที่แทรกมักจะเป็นยีนที่ต้านทานสารกำจัดวัชพืชหรือต้านทานศัตรูพืช ดังนั้นจากการโฆษณาทางการตลาดระบุว่าเกษตรกรสามารถใช้สารกำจัดวัชพืชหรือยาฆ่าแมลงน้อยลง เป็นการประหยัดต้นทุนและลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#4 ข้าวสีทอง ตอนที่ 3 ข้าวสีทองดีเบต
ข้าวสีทอง (Golden Rice) เป็นพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่อุดมด้วยเบต้าแคโรทีนซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการขาดวิตามินเอ (Vitamin A Deficiency; VAD) ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่ยากจนมาก ข้าวสีทองเกิดจากความคิดที่ว่าเทคโนโลยีชีวภาพสามารถแก้ปัญหาการขาดสารอาหาร ความอดอยาก และความยากจนในประเทศกำลังพัฒนา Golden Rice มีชื่อตามสีทองซึ่งเกิดจากเบต้าแคโรทีน […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#3 ข้าวสีทอง ตอนที่ 2 การพัฒนาและประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ “Golden Rice”
การเสริมวิตามินเอ เบต้าแคโรทีน (β-carotene) จัดเป็นกลุ่มรงควัตถุ (pigment) ที่มีสีส้ม สีเหลือง เป็นสารในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอ สารนี้เมื่อเข้าสู่รางกายจะได้รับการเปลี่ยนเป็นวิตามินเอจึงจะออกฤทธิ์ได้ เบต้าแคโรทีนเป็นแหล่งวิตามินเอที่มีประสิทธิภาพทั้งในอาหารทั่วไปและอาหารเสริมวิตามิน โดยทั่วไปถือว่าไม่มีพิษและไม่มีรายงานผลข้างเคียงที่เกิดจากการบริโภคเบต้าแคโรทีนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในอาหาร การขาดวิตามินเอ (Vitamin […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#2 ข้าวสีทอง ตอนที่ 1 การสร้างข้าวดัดแปลงพันธุกรรม “Golden Rice”
GMOs คืออะไร? สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ (Genetically Modified Organism, GMOs) คือสิ่งมีชีวิตใดๆ ที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมจากการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ที่เกิดจากการตัดเอายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งเข้าไปในยีนของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติ ทำให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีคุณลักษณะที่เป็นประโยชน์ตามที่ต้องการ จีเอ็มโอถูกนำมาใช้ในการวิจัยและเพื่อผลิตพืชอาหารที่มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืช ต้านทานต่อโรคพืช ต้านทานต่อสารเคมีกำจัดวัชพืช […]
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (GM Crops)#1 จีเอ็มโอ, วิธีสร้างพืชจีเอ็ม, พื้นที่ปลูกพืชจีเอ็มทั่วโลก, พืชจีเอ็มกับประเทศไทย
ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครโมโซม DNA และยีน (kintalk.org) โครโมโซม (Chromosome) – ตัวโครโมโซมสามารถย้อมสีติด มันอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ เป็นที่อยู่ของ “สารพันธุกรรมหรือ DNA” รวมถึง “หน่วยพันธุกรรมหรือยีน” (ซึ่งยีนอยู่ใน […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#3 คลอร์ไพริฟอส (Chlorpyrifos)
คลอร์ไพริฟอส คลอร์ไพริฟอส (chlorpyrifos) เป็นสารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืช (insecticides) ในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (organophosphate compound) ที่เป็นสารอินทรีย์ที่มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ใช้เพื่อฆ่าแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เนื่องจากมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส (acetylcholinesterase) ในระบบประสาทของแมลง องค์การอนามัยโลก (WHO) […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#2 พาราควอต (Paraquat)
พาราควอต (Paraquat) เป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชหรือยาฆ่าหญ้าที่นิยมใช้ในภาคเกษตรกรรมทั่วโลกมานานหกสิบปี เนื่องจากพาราควอตมีราคาถูก และมีประสิทธิภาพสูงสำหรับการกำจัดวัชพืช มันจึงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เป็นที่ยอมรับกันว่า “พาราควอตเป็นสารกำจัดวัชพืชที่เป็นอันตรายมากที่สุด มีพิษรุนแรงที่สุด และไม่มียาแก้พิษ” เพียงจิบน้อยกว่าหนึ่งช้อนชาก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พาราควอตก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและความตายในหมู่คนงานและเกษตรกรทั่วโลก โดยมีอัตราการเสียชีวิตจากการสัมผัสโดยตรงสูงถึง 40% การได้รับสารเป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดโรคทางสมองที่รักษาไม่หาย […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#1 ไกลโฟเซต (Glyphosate)
การควบคุมวัชพืช (Weed Control) ศัตรูพืช ได้แก่ วัชพืช แมลง หรือโรคพืช ในบรรดาศัตรูพืชทั้งสามประเภท “วัชพืช” เป็นภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่แย่งชิงผลผลิตทางการเกษตร ลองนึกภาพหากเราเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชผลจำนวนหลายร้อยไร่ การป้องกันไม่ให้วัชพืชเข้ายึดนาและทำลายพืชผลเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง! วัชพืชเป็นพืชที่ไม่พึงประสงค์ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในไร่นาสวน มักสร้างความเสียหายแก่พืชเศรษฐกิจโดยเฉพาะในช่วงแรกของการเจริญเติบโต […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#3 คลอร์ไพริฟอส (Chlorpyrifos)
คลอร์ไพริฟอส คลอร์ไพริฟอส (chlorpyrifos) เป็นสารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืช (insecticides) ในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (organophosphate compound) ที่เป็นสารอินทรีย์ที่มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ใช้เพื่อฆ่าแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เนื่องจากมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส (acetylcholinesterase) ในระบบประสาทของแมลง องค์การอนามัยโลก (WHO) […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#2 พาราควอต (Paraquat)
พาราควอต (Paraquat) เป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชหรือยาฆ่าหญ้าที่นิยมใช้ในภาคเกษตรกรรมทั่วโลกมานานหกสิบปี เนื่องจากพาราควอตมีราคาถูก และมีประสิทธิภาพสูงสำหรับการกำจัดวัชพืช มันจึงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เป็นที่ยอมรับกันว่า “พาราควอตเป็นสารกำจัดวัชพืชที่เป็นอันตรายมากที่สุด มีพิษรุนแรงที่สุด และไม่มียาแก้พิษ” เพียงจิบน้อยกว่าหนึ่งช้อนชาก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พาราควอตก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและความตายในหมู่คนงานและเกษตรกรทั่วโลก โดยมีอัตราการเสียชีวิตจากการสัมผัสโดยตรงสูงถึง 40% การได้รับสารเป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดโรคทางสมองที่รักษาไม่หาย […]
การแบนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอันตราย#1 ไกลโฟเซต (Glyphosate)
การควบคุมวัชพืช (Weed Control) ศัตรูพืช ได้แก่ วัชพืช แมลง หรือโรคพืช ในบรรดาศัตรูพืชทั้งสามประเภท “วัชพืช” เป็นภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่แย่งชิงผลผลิตทางการเกษตร ลองนึกภาพหากเราเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชผลจำนวนหลายร้อยไร่ การป้องกันไม่ให้วัชพืชเข้ายึดนาและทำลายพืชผลเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง! วัชพืชเป็นพืชที่ไม่พึงประสงค์ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในไร่นาสวน มักสร้างความเสียหายแก่พืชเศรษฐกิจโดยเฉพาะในช่วงแรกของการเจริญเติบโต […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#4 การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีชีวภาพ (Biological Weed Control)
การควบคุมวัชพืชโดยวิธีทางชีวภาพ (Biological weed control) เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูตามธรรมชาติของวัชพืชเพื่อควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืช ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือการแพร่กระจายของวัชพืช ซึ่งจะลดความหนาแน่นของวัชพืชให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เป็นการลดความสามารถในการแข่งขันกับพืชปลูก ตัวอย่างของศัตรูตามธรรมชาติของวัชพืชได้แก่ สัตว์กินหญ้า แมลง ไส้เดือนฝอย ไร เชื้อโรคพืช (รา […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#3 การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกล (Mechanical Weed Control)
การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกล (Mechanical Weed Control) การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกลหมายถึงเทคนิคใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อุปกรณ์ในฟาร์มเพื่อควบคุมวัชพืช เกษตรกรใช้วิธีนี้เพื่อควบคุมวัชพืชมานานหลายศตวรรษ เครื่องมือกำจัดวัชพืชด้วยวิธีกลมีตั้งแต่เครื่องมือช่างขั้นพื้นฐานไปจนถึงอุปกรณ์ที่ขับเคลื่อนด้วยรถแทรกเตอร์เช่น จอบ คราด เครื่องตัดหญ้า รถไถ การเลือกวิธีการกำจัดวัชพืชด้วยวิธีกลขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานจริง เช่น การปลูกพืช […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#2 การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม (Cultural Weed Control)
การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม (Cultural Weed Control) การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรมเป็นวิธีการสมัยโบราณซึ่งชาวไร่ชาวสวนทั่วๆ ไปปฏิบัติ คือการปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อให้พืชเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง และคลุมพื้นที่ได้เร็ว มีความได้เปรียบในการแก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืช โดยใช้วิธีการและปัจจัยในการปลูกพืชอย่างถูกต้อง วิธีนี้มีหลายอย่างได้แก่ การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#1 การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อน (Thermal Weed Control)
การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อน (Thermal Weed Control) การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนไม่ได้หมายถึงการเผาวัชพืชให้เป็นเถ้า เพียงแค่ให้ความร้อนแก่วัชพืชถึง 70ºC ประมาณหนึ่งวินาที ที่อุณหภูมินี้เซลล์พืชจะแตกออกและโปรตีนของพืชจะถูกทำลาย จากนั้นวัชพืชก็เหี่ยวเฉาและตาย เวลาที่เหมาะสมสำหรับการควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนคือในช่วงแรกของการเจริญเติบโต การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนมีเพียงวัชพืชเท่านั้นที่ถูกทำลาย การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนส่วนใหญ่มีผลต่อส่วนที่อยู่เหนือพื้นดินของพืช แต่วัชพืชบางชนิด (เช่นวัชพืชยืนต้น) […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#4 การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีชีวภาพ (Biological Weed Control)
การควบคุมวัชพืชโดยวิธีทางชีวภาพ (Biological weed control) เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูตามธรรมชาติของวัชพืชเพื่อควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืช ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือการแพร่กระจายของวัชพืช ซึ่งจะลดความหนาแน่นของวัชพืชให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เป็นการลดความสามารถในการแข่งขันกับพืชปลูก ตัวอย่างของศัตรูตามธรรมชาติของวัชพืชได้แก่ สัตว์กินหญ้า แมลง ไส้เดือนฝอย ไร เชื้อโรคพืช (รา […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#3 การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกล (Mechanical Weed Control)
การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกล (Mechanical Weed Control) การควบคุมวัชพืชด้วยวิธีกลหมายถึงเทคนิคใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อุปกรณ์ในฟาร์มเพื่อควบคุมวัชพืช เกษตรกรใช้วิธีนี้เพื่อควบคุมวัชพืชมานานหลายศตวรรษ เครื่องมือกำจัดวัชพืชด้วยวิธีกลมีตั้งแต่เครื่องมือช่างขั้นพื้นฐานไปจนถึงอุปกรณ์ที่ขับเคลื่อนด้วยรถแทรกเตอร์เช่น จอบ คราด เครื่องตัดหญ้า รถไถ การเลือกวิธีการกำจัดวัชพืชด้วยวิธีกลขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานจริง เช่น การปลูกพืช […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#2 การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม (Cultural Weed Control)
การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม (Cultural Weed Control) การควบคุมวัชพืชโดยวิธีเขตกรรมเป็นวิธีการสมัยโบราณซึ่งชาวไร่ชาวสวนทั่วๆ ไปปฏิบัติ คือการปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อให้พืชเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง และคลุมพื้นที่ได้เร็ว มีความได้เปรียบในการแก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืช โดยใช้วิธีการและปัจจัยในการปลูกพืชอย่างถูกต้อง วิธีนี้มีหลายอย่างได้แก่ การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop […]
ทางเลือกในการกำจัดวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี#1 การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อน (Thermal Weed Control)
การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อน (Thermal Weed Control) การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนไม่ได้หมายถึงการเผาวัชพืชให้เป็นเถ้า เพียงแค่ให้ความร้อนแก่วัชพืชถึง 70ºC ประมาณหนึ่งวินาที ที่อุณหภูมินี้เซลล์พืชจะแตกออกและโปรตีนของพืชจะถูกทำลาย จากนั้นวัชพืชก็เหี่ยวเฉาและตาย เวลาที่เหมาะสมสำหรับการควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนคือในช่วงแรกของการเจริญเติบโต การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนมีเพียงวัชพืชเท่านั้นที่ถูกทำลาย การควบคุมวัชพืชด้วยความร้อนส่วนใหญ่มีผลต่อส่วนที่อยู่เหนือพื้นดินของพืช แต่วัชพืชบางชนิด (เช่นวัชพืชยืนต้น) […]